Please use this identifier to cite or link to this item: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/6714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorซอฟูวะห์ กูโน-
dc.date.accessioned2023-03-08T03:45:08Z-
dc.date.available2023-03-08T03:45:08Z-
dc.date.issued2562-02-22-
dc.identifier.urihttp://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/6714-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์มโนอุปลักษณ์ทะเลและเปรียบเทียบมโนอุปลักษณ์ทะเลที่สัมพันธ์กับปัจจัย ด้านเพศและด้านวัยของผู้ใช้ภาษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ผู้วิจัยเลือกพื้นที่ในจังหวัดชายแดน ได้แก่ จังหวัดปัตตานี และ จังหวัดนราธิวาส เนื่องจากสองจังหวัดนี้เป็นพื้นที่ที่มีทะเล โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จัดเป็นกลุ่มวัยรุ่นในช่วงอายุ 18-23 ปี ทั้งเพศชายและเพศหญิงจำนวน 20 คน และเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เป็น ชาวบ้านวัยผู้ใหญ่มีช่วงอายุ 30-60 ปี ทั้งเพศชายและเพศหญิง จำนวน 20 คน ที่อาศัยใกล้กับทะเลและมีความผูกพันกับทะเล นำมาเปรียบเทียบมโนอุปลักษณ์ทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างอย่างไร โดยใช้แบบสอบถามตั้งคำถามแบบปลายเปิด ผลวิจัย พบว่า ปัจจัยทั้งทางเพศและวัยท าให้ผู้ใช้ภาษาแต่ละภาษามีมโนทัศน์เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน คือ ชีวิต เนื่องจาก การด าเนินชีวิตของมนุษย์ทั้งในเพศหญิงและเพศชายรวมทั้งในวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ ต่างก็มีชีวิตที่มีทั้งทุกข์และสุข มีอุปสรรค ต่าง ๆ นานา เกิดขึ้นได้กับทุกเพศทุกวัย ฉะนั้นการมองทะเลให้เป็นชีวิตจึงเป็นสิ่งที่ทุกเพศและทุกวัยให้ความสำคัญกับการใช้ ชีวิตen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้en_US
dc.relation.ispartofseriesการประชุมวิชาการระดับชาติ “เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย” ครั้งที่ 9;F9-17-
dc.subjectมโนอุปลักษณ์en_US
dc.subjectผู้ใช้ภาษาen_US
dc.subjectชายแดนภาคใต้en_US
dc.titleมโนอุปลักษณ์ทะเลของผู้ใช้ภาษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้en_US
dc.title.alternativeMaritime Conceptual Metaphor of Language Users in Southern Thai Border Provincesen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:4.02 บทความวิจัย

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2562-9th SCT proceedings (cover).pdf16.22 MBAdobe PDFView/Open
2562-9th SCT proceedings (F9-17).pdf347.26 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.