Please use this identifier to cite or link to this item: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/5855
Title: การรับรู้และการตอบสนองบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดชายแดนใต้ต่อการควบคุมยาสูบแบบบูรณาการมิติกฎหมายและมิติสังคมในระดับพื้นที่: กรณีศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
Other Titles: Local Administration Organizations in the Southern Border Provinces’ Perceptions of and Responses to Area-Based Tobacco Integrative Control in Legal and Social Dimensions: A Case Study of Local Administrative Organizations in Raman District, Yala Province
Authors: ศิริลักษณ์ คัมภิรานนท์
สุปรีญา นุ่นเกลี้ยง
อิสยัส มะเก็ง
นูรรีย๊ะ ล่าเตะเกะ
ธงฉาน สุวรรณรักษา
Keywords: การรับรู้
การตอบสนอง
บทบาท
การบูรณาการ
การควบคุมยาสูบ
Issue Date: 29-Dec-2563
Publisher: วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
Citation: https://so01.tci-thaijo.org/index.php/truhusocjo/article/view/240699
Series/Report no.: ปีที่ 11 ฉบันที่ 2;93-110
Abstract: การวิจัยนี้ศึกษาการรับรู้และทัศนคติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การรับรู้ศักยภาพการปฏิบัติงานและปัญหาอุปสรรคของกลไกกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบแบบบูรณาการ รวมทั้ง การพัฒนากระบวนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนการควบคุมยาสูบระดับพื้นที่ในมิติกฎหมายและมิติสังคม ใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณเป็นหลัก ใช้กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม จ านวนรวม 237 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม 2 ชุด คุณภาพแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นที่ใช้สถิติสัมประสิทธิ์แอลฟา มีค่า .90 และ .87 วิธีวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสนทนากลุ่มและการประชุมปฏิบัติการ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงตรรกะ ผลการวิจัยโดยภาพรวมของวัตถุประสงค์การวิจัยข้อ 1-3 อยู่ระดับปานกลาง ส่วนการพัฒนากระบวนการสร้างเครือข่ายความร่วมมือแตกต่างกันตามสภาพการณ์ มีลักษณะด าเนินการหลายระดับมีกิจกรรมการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เสริมสร้างการด าเนินการในชุมชนที่เข้มแข็งและปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ ทั้งนี้ แนวทางการสร้างความร่วมมือพบว่ามีปัจจัยเฉพาะตามกระบวนการของห่วงโซ่อุปทาน สถานการณ์ปัญหายาสูบพบในแหล่งที่คนมาพบปะวาระต่าง ๆ รูปแบบกิจกรรมการควบคุมยาสูบมีหลากหลาย การวางแผนกิจกรรมน าร่องเน้นชุมชนและสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม
URI: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/5855
ISSN: 2673-0413
Appears in Collections:4.02 บทความวิจัย

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
j.siruluk63.pdf471.79 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.