Please use this identifier to cite or link to this item: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/5166
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุปรีญา นุ่นเกลี้ยง
dc.contributor.authorศิริลักษณ์ คัมภิรานนท์
dc.date.accessioned2021-12-24T03:38:36Z-
dc.date.available2021-12-24T03:38:36Z-
dc.date.issued2562-09
dc.identifier.citationhttps://journal.oas.psu.ac.th/index.php/asj/article/view/1474en_EN
dc.identifier.issn2351-0420
dc.identifier.urihttp://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/5166-
dc.descriptionThe purposes of this research were to 1) study students’ perceptions of corruptions, 2) learn students’ attitudes towards corruptions, 3) compare students’ perceptions of corruptions regarding personal factors, 4) probe relations between students’ perceptions of corruptions as well as their attitudes towards corruptions and various points, including students’ understanding about corruptions, their experiences related to corruptions, and their acceptance and tolerance to corruptions, their perceptions of corruptions, and 5) recommend ethics promotions for students’ citizenship to resist corruptions. Subjects of the study were 400 students of Yala Rajabhat University who were selected through probability samplings. Research instruments included questionnaires and group discussions. The data were analyzed through descriptive statistics, t-test, one-way Anova, and Pearson Product Moment Correlation Coefficient. The results of the study showed that students had high perceptions of corruptions (X=3.97, S.D.=.80) and their attitudes towards corruptions was in high level (X=3.29, S.D.=.80). Regarding the comparison of the students’ perceptions of corruptions and their personal factors, including gender, year of study, faculty, religion, type of high school, academic achievement, parents’ status, their birth order in their families, it was found, without statistical significance, that these factors differed. However, their sources of knowledge and news about corruptions were not different. In terms of relations of all the factors, the relationship between the subjects’ knowledge and understandings about corruptions and attitudes towards corruptions were low (r=-.189). There were quite low relationships between their experiences of corruptions and perceptions of corruptions (r=.213), among their attitudes towards corruptions (r=.238), and between their acceptance and tolerance to corruptions and their attitudes towards corruptions (r=-.314). Meanwhile, the relationship between their perceptions of corruptions and attitudes towards corruptions were moderate (r=435). Lastly, there were high relationship between their knowledge and understandings about corruptions and their acceptance and tolerance to corruptions (r=.622). In addition, ways for ethics promotions for the students’ citizenship to resist corruptions was in high level, as a whole, especially in terms of their family and political leaders.en_EN
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษา 1) การรับรู้การทุจริตคอร์รัปชันของนักศึกษา 2) ทัศนคติต่อการทุจริตคอร์รัปชันของนักศึกษา 3) เปรียบเทียบการรับรู้การทุจริตคอร์รัปชันของนักศึกษา เมื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชัน ประสบการณ์การทุจริตคอร์รัปชัน และการยอมรับหรืออดกลั้นการทุจริต คอร์รัปชันกับการรับรู้การทุจริตคอร์รัปชันและทัศนคติต่อการทุจริตของนักศึกษา และ 5) เสนอแนะการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในความเป็นพลเมืองด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน ประชากรในการวิจัย คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามและแบบสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ t-test ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Product-Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ต่อการทุจริตคอร์รัปชันภาพรวมอยู่ระดับมาก (X=3.97, S.D.=.80) ทัศนคติต่อการทุจริตคอร์รัปชันภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง (X=3.29, S.D.=.80) การเปรียบเทียบการรับรู้การทุจริตคอร์รัปชันจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล คือ เพศ ชั้นปี คณะ ศาสนา ประเภทสถานศึกษาที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ผลการเรียน สถานภาพของพ่อแม่และลำดับการเป็นบุตรโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ยกเว้นจำแนกตามแหล่งการติดตามและรับรู้ข่าวสารการเมืองมีการรับรู้การทุจริตพอๆ กัน หรือไม่แตกต่างกัน ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร สรุปว่ามีความสัมพันธ์ระดับต่ำ คือ ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทุจริตกับทัศนคติต่อการทุจริตและคอร์รัปชัน (r=-.189) ความสัมพันธ์ระดับค่อนข้างต่ำ คือ ด้านประสบการณ์การทุจริตคอร์รัปชันกับการรับรู้การทุจริตคอร์รัปชัน (r=.213) กับทัศนคติต่อการทุจริตและคอร์รัปชัน (r=.238) และความสัมพันธ์ด้านการยอมรับหรืออดกลั้นการทุจริตคอร์รัปชันกับทัศนคติต่อการทุจริตและคอร์รัปชัน (r=-.314) ส่วนความสัมพันธ์ระดับปานกลาง คือ ด้านการรับรู้การทุจริตคอร์รัปชันกับทัศนคติต่อการทุจริตคอร์รัปชัน (r=435) และความสัมพันธ์ระดับค่อนข้างสูง คือ ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทุจริตกับการยอมรับหรืออดกลั้นการทุจริตคอร์รัปชัน (r=.622) นอกจากนี้แนวทางการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในความเป็นพลเมืองด้านการต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชันของนักศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะด้านกลไกครอบครัวและด้านกลไกผู้นำประเทศ/นักการเมืองen_EN
dc.publisherสำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีen_EN
dc.relation.ispartofseriesวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา;ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2562
dc.subjectการรับรู้en_EN
dc.subjectการทุจริตคอร์รัปชันen_EN
dc.subjectการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมen_EN
dc.subjectความเป็นพลเมืองen_EN
dc.titleการรับรู้การทุจริตคอร์รัปชันและการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในความเป็นพลเมืองของนักศึกษา: ศึกษากรณี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาen_EN
dc.title.alternativePerceptions of Corruptions and Ethics Promotions for Students’ Citizenship: A Case Study of Yala Rajabhat Universityen_EN
dc.typeArticleen_EN
Appears in Collections:4.02 บทความวิจัย

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
supreeya62-2.pdf277.61 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.