Please use this identifier to cite or link to this item: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/4607
Title: โครงการการพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการโดยใช้ความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาเป็นฐาน ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ชื่อหลักสูตร : การทำธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นตำรับชาววัง (รุ่นที่ 1)
Authors: กูมัจดี ยามิรูเด็ง
Keywords: การพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการ
ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ
การทำธุรกิจจากขนมไทย
Issue Date: 20-Aug-2558
Description: โครงการการพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการโดยใช้ความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาเป็นฐาน ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ชื่อหลักสูตร : การท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต ารับชาววัง (รุ่นที่ 1) 1. หลักการและเหตุผล ขนมไทยจัดเป็นอาหารที่คู่ส ารับกับข้าวไทยมาตั้งแต่ครั้งโบราณโดยใช้ค าว่าส ารับกับข้าวคาว – หวาน การท าขนมไทยเป็นส่วนหนึ่งที่ได้สืบสานอนุรักษ์ของไทยที่ก าลังจะเลือนหายไปให้กับคนรุ่นหลังได้รู้จักซึ่งขนมไทย ล้วนมีเสน่ห์ในตัวเองไม่ว่าจะเป็นรูปร่างหน้าตาที่ตกแต่งออกมาสวยงามมีขั้นตอนในการท าอย่างประณีตและ รสชาติที่โดดเด่นตามแบบฉบับของคนไทยโบราณและที่ส าคัญขนมไทยส่วนมากเป็นขนมที่มีความเป็นมงคลอยู่ใน ตัวอีกด้วยโดยทั่วไปประชาชนจะท าขนมเฉพาะในงานเลี้ยงงานมงคลและงานพิธีการต่างๆ ซึ่งแสดงความเป็น เอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจ าชาติไทยอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดีเพราะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความ ละเอียดอ่อนประณีตในการท าตั้งแต่วัตถุดิบ วิธีการท าที่พิถีพิถันในเรื่องรสชาติ สีสันความสวยงาม กลิ่นหอม รูปลักษณ์ที่ชวนน่ารับประทานเป็นอย่างยิ่ง ขนมไทยนิยมท ากันทุกๆ ภาคของประเทศไทยในพิธีการต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมีความนิยมบริโภคขนมไทย สูงขึ้น ท าให้ตลาดขนมไทยในประเทศมีการขยายตัวมากขึ้นจากที่เคยจ ากัดตัวอยู่ในตลาดซื้อบริโภคเองและใช้ใน งานบุญงานประเพณีต่างๆ เพิ่มเป็นการท าขนมไทยเพื่อมาเป็นของฝากในโอกาสที่น่ายินดีต่างๆ โดยเฉพาะใน เทศกาลส าคัญๆ เช่น วันปีใหม่ วันสงกรานต์ เป็นต้น ด้วยการเพิ่มความพิถีพิถันในเรื่องบรรจุภัณฑ์ การตกแต่งให้ สวยงาม ท าให้ขนมไทยดูมีค่ามากยิ่งขึ้นและเป็นที่ประทับใจแก่ผู้ให้และผู้รับตลอดจนเพิ่มทางเลือกในการบริโภค ขนมไทยฮาลาลในพื้นที่อีกด้วย ฉะนั้นการอบรมทักษะการประกอบอาชีพการท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต ารับ ชาววังนั้นจึงเป็นการสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพแก่ประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อรองรับการ ขยายตัวของตลาดขนมไทยที่เพิ่มมากขึ้น สามารถสร้างรายได้ให้กับประชาชนได้เป็นการตอบสนองนโยบายของ ภาครัฐในการส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพมีรายได้และแก้ปัญหาการว่างงานในพื้นที่ตลอดจนบริการวิชาการให้ ประชาชนในพื้นที่มีความรู้มีทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อเป็นผู้ประกอบการในอนาคตส่งผลให้ประชาชนมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีภารกิจในการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้และตระหนักถึงความส าคัญของการเป็นผู้ประกอบการในท้องถิ่นจึงเล็งเห็นถึง ความส าคัญในโครงการอบรมทักษะการประกอบอาชีพการท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต ารับชาววังเพื่อพัฒนา ทักษะและความรู้ในการประกอบอาชีพการเป็นผู้ประกอบการซึ่งการอบรมในครั้งนี้จะช่วยพัฒนาฝีมือแรงงานและ ทักษะความรู้ในการประกอบอาชีพและเพื่อเป็นความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการในอนาคต 3 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างโอกาสในการประกอบอาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ 2. เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพให้กับคนในพื้นที่ 3. เพื่อเตรียมความพร้อมในการพัฒนากลุ่มเป้าหมายสู่การเป็นผู้ประกอบการบ่มเพาะ 3. กลุ่มเป้าหมาย จ านวน 40 ราย โดยคัดเลือกจากใบสมัครและสัมภาษณ์จากกลุ่มเป้าหมายดังนี้ 1.นักศึกษา 2.บัณฑิต 3.ผู้ประกอบอาชีพเดิมอยู่แล้ว แต่ยังขาดทักษะในการประกอบอาชีพ 4.ประชาชนทั่วไปที่สนใจในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ 4. คุณสมบัติของผู้เข้าร่วมโครงการ 1. สามารถเข้ารับการฝึกอบรมได้ตลอดหลักสูตร 2. มีความสนใจในเรื่องการท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต าหรับชาววัง เพื่อน าความรู้ไปประกอบอาชีพ หรือต่อยอดทางความรู้ 3. ประชาชนทั่วไปที่มีพื้นเพอยู่ในพื้นที่ 3 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดปัตตานี ยะลาและนราธิวาส 4. มีความตั้งใจและมีความพร้อมในการประกอบธุรกิจ หลังจากการอบรมโครงการ 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้เข้าอบรมมีทักษะและความรู้ความเข้าใจในเรื่องการท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต ารับชาววัง ได้แก่ ขนมช่อม่วง/ขนมจีบนก ขนมชั้น ขนมกล้วย ขนมฝอยทอง 2. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถน าความรู้และทักษะจากการเข้าร่วมอบรมและฝึกปฏิบัติ ไปด าเนินการท า ขนมช่อม่วง/ขนมจีบนก ขนมชั้น ขนมกล้วย ขนมฝอยทองได้ด้วยตนเอง 3. มีจ านวนผู้เข้ารับการอบรมที่น าความรู้ไปประกอบธุรกิจไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของผู้เข้าร่วมอบรม ทั้งหมด 4. เป็นกลไกของศูนย์บ่มเพาะฯ ในการคัดเลือกผู้ประกอบการเข้าสู่กระบวนการบ่มเพาะ 5. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสร้างเครือข่ายในประเภทธุรกิจเดียวกันได้4 6. รายละเอียดหลักสูตร 1. แรงบันดาลใจในการท าธุรกิจ “จุดประกายความคิดสู่ธุรกิจสร้างสรรค์” 2. ความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการท าขนมไทย 3. การท าขนมไทย ต่างๆ ดังนี้ 3.1 ขนมช่อม่วง/ขนมจีบนก 3.2 ขนมชั้น 3.3 ขนมกล้วย 3.4 ขนมฝอยทอง 4. ทักษะเบื้องต้นในการประกอบธุรกิจ - จริยธรรมทางธุรกิจ - ทักษะและกลยุทธ์ในการขาย - การตลาด/ช่องทางการจัดจ าหน่าย - การจัดท าบัญชีรายรับ – รายจ่ายเบื้องต้น - การวิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจ - การบริหารจัดการด้านการตลาด และเทคนิคการขาย - การบริการองค์กร และการบริหารบุคลากร - การจัดการด้านการผลิตหรือบริการ - การบริหารการเงิน การอ่านวิเคราะห์ตัวเลขทางการเงิน - Business Model Canvas ของธุรกิจ เนื้อหา/หัวข้อหลักสูตร : การท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต ารับชาววัง (รุ่นที่ 1) เนื้อหา/หัวข้อหลักสูตร วิทยากร ระยะเวลา(ชั่วโมง) 1. แรงบันดาลใจในการท าธุรกิจ “จุดประกายความคิดสู่ ธุรกิจสร้างสรรค์” - ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง 1 2. ความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการท าขนมไทย - ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 1 3. การท าขนมช่อม่วง/ขนมจีบนก - คุณนูไอนี เสมอภพ - คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ - คุณซัลซาบีลา อาบะ - คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ - คุณรัยฮานี ดาลี 4 4. การท าขนมชั้น - คุณนูไอนี เสมอภพ - คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ - คุณซัลซาบีลา อาบะ - คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ - คุณรัยฮานี ดาลี 35 5. การท าขนมกล้วย - คุณนูไอนี เสมอภพ - คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ - คุณซัลซาบีลา อาบะ - คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ - คุณรัยฮานี ดาลี 3 6. การท าขนมสังขยาฟักทอง - คุณนูไอนี เสมอภพ - คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ - คุณซัลซาบีลา อาบะ - คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ - คุณรัยฮานี ดาลี 3 7. ทักษะเบื้องต้นในการประกอบธุรกิจ - จริยธรรมทางธุรกิจ - ทักษะและกลยุทธ์ในการขาย - การตลาด/ช่องทางการจัดจ าหน่าย - การจัดท าบัญชีรายรับ – รายจ่ายเบื้องต้น - การวิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจ - การบริหารจัดการด้านการตลาด และเทคนิคการขาย - การบริการองค์กร และการบริหารบุคลากร - การจัดการด้านการผลิตหรือบริการ - การบริหารการเงิน การอ่านวิเคราะห์ตัวเลขทาง การเงิน - Business Model Canvas ของธุรกิจ - รศ.อัปสร อีซอ 3 รวม 186 7. ก าหนดการโครงการ “โครงการพัฒนาและสร้างผู้ประกอบการ โดยใช้ความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาเป็นฐาน” “การท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต ารับชาววัง (รุ่นที่ 1)” หลักสูตร ก. ระหว่างวันที่ 20 - 22 สิงหาคม 2558 ณ ห้องแปรรูปอาหาร ชั้น 1 อาคารวิทยาศาสตร์การอาหาร และห้องหงส์แก้วฟ้า ชั้น 5 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา วันที่ เวลา หัวข้อ วิทยากร 20 ส.ค. 58 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 08.45 น. กล่าวเปิดการอบรม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 08.45 – 09.45 น. แรงบันดาลใจในการท าธุรกิจ “จุดประกายความคิด สู่ธุรกิจสร้างสรรค์” ดร.กูมัจดี ยามิรูเด็ง 09.45 – 10.45 น. ความรู้และความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับการท าขนม ไทย (บรรยาย) ผศ.วิภาดา มุนินทร์นพมาศ 10.45 – 11.00 น. พักรับประทานอาหารว่าง 11.00 – 12.00 น. ขั้นตอนการท าขนมช่อม่วง/ขนมจีบนก (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5) 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 15.00 น. ขั้นตอนการท าขนมช่อม่วง/ขนมจีบนก (ต่อ) (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5) 15.00 – 15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 15.15 – 16.15 น. ขั้นตอนการท าขนมช่อม่วง/ขนมจีบนก (ต่อ) (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5)7 วันที่ เวลา หัวข้อ วิทยากร 21 ส.ค. 58 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 10.30 น. ขั้นตอนการท าขนมชั้น (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5) 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 11.45 น. ขั้นตอนการท าขนมชั้น (ต่อ) (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5) 11.45 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 15.00 น. ขั้นตอนการท าขนมกล้วย (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5) 15.00 – 15.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 15.15 – 16.15 น. ขั้นตอนการท าขนมกล้วย (ต่อ) (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5)8 หมายเหตุ - ก าหนดการอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม วันที่ เวลา หัวข้อ วิทยากร 22 ส.ค. 58 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบียน 08.30 – 10.30 น. ขั้นตอนการท าขนมสังขยาฟักทอง (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5) 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 – 11.45 น. ขั้นตอนการท าขนมสังขยาฟักทอง (ต่อ) (ปฏิบัติ แบ่งกลุ่มจ านวน 4 กลุ่มๆ ละ 10 คน) คุณนูไอนี เสมอภพ (กลุ่มที่ 1) คุณฮาปือเสาะ ดอมอลอ (กลุ่มที่ 2) คุณซัลซาบีลา อาบะ (กลุ่มที่ 3) คุณฟาดีล๊ะ สาเมาะ (กลุ่มที่ 4) คุณลาตีพะห์ เจะซอ (กลุ่มที่ 5) 11.45 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.00 น. ทักษะเบื้องต้นในการประกอบธุรกิจ (บรรยาย) - จริยธรรมทางธุรกิจ - ทักษะและกลยุทธ์ในการขาย - การตลาด/ช่องทางการจัดจ าหน่าย - การจัดท าบัญชีรายรับ – รายจ่ายเบื้องต้น - การวิเคราะห์โอกาสทางธุรกิจ รศ.อัปสร อีซอ 14.00 – 14.15 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.15 – 16.15 น. ทักษะเบื้องต้นในการประกอบธุรกิจ (บรรยาย) (ต่อ) - การบริหารจัดการด้านการตลาด และเทคนิคการ ขาย - การบริการองค์กร และการบริหารบุคลากร - การจัดการด้านการผลิตหรือบริการ - การบริหารการเงิน การอ่านวิเคราะห์ตัวเลขทาง การเงิน - Business Model Canvas ของธุรกิจ รศ.อัปสร อีซอ 16.15 – 16.30 น. กล่าวปิดการอบรม ผู้จัดการศูนย์บ่มเพาะฯ9 8.แผนขั้นตอนการด าเนินงาน กิจกรรม ระยะเวลาเวลาด าเนินการ ปี 2558 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. ประสานงานและบริหารโครงการ - จัดตั้งทีมงานและเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ - จัดท าหลักสูตรติดต่อวิทยากรและจัดเตรียมสถานที่อบรม - - 2. ประชาสัมพันธ์และการรับสมัคร 3. คัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการฯ 4. อบรมเชิงปฏิบัติการ“ทักษะวิชาชีพ” 5. ทดสอบโดยการทดลองท าและประเมินความรู้ 6. ติดตามผลการประกอบอาชีพและอื่นๆ 7. จัดประชุมรายงานความก้าวหน้า 8. รายงานสรุปผลการด าเนินงานโครงการโดยแสดง รายละเอียด เนื้อหาวิชาของหลักสูตร เอกสารประกอบการสอน ระยะเวลาการด าเนินงาน 5 เดือน พฤษภาคม ถึง เดือนกันยายน 2558 (กิจกรรมอบรม 3 วัน จัดภายในเดือน กรกฎาคม 2558) 9. ดัชนีชี้วัดความส าเร็จ 1. จ านวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่า 30 คน แต่ไม่เกิน 40 คน ต่อหลักสูตร 2. จ านวนผู้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยประเมินจาก 2.1 มีระยะเวลาในการเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.2 ผ่านการทดสอบความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2.3 จ านวนผู้ผ่านการทดสอบการปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประกอบอาชีพหรือขยายธุรกิจเดิมหรือเป็นผู้มีศักยภาพเป็น ผู้ประกอบการบ่มเพาะของศูนย์บ่มเพาะธุรกิจในอนาคตไม่น้อยกว่าร้อยละ10 4. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ 8510 10.กระบวนการสร้างและพัฒนาการประกอบอาชีพ ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจฯ ได้ท าการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการการท าธุรกิจจากขนมไทย สูตรต้นต ารับชาววัง (รุ่นที่ 1) โดยมีวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์มาให้การบรรยายทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ใน ด้านการท าขนมไทยและกรรมวิธีผลิตขนมไทยหลากหลายชนิดอีกทั้งยังมีวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในด้าน การตลาดและการด าเนินธุรกิจ มาให้ความรู้ในเรื่องทักษะในการประกอบธุรกิจ เช่นจริยธรรมทางธุรกิจ,ทักษะ และกลยุทธ์ในการขาย,การตลาด/ช่องทางการจัดจ าหน่าย,การจัดท าบัญชีรายรับ,รายจ่ายเบื้องต้น,การวิเคราะห์ โอกาสทางธุรกิจ,การบริหารจัดการด้านการตลาดและเทคนิคการขาย,การบริการองค์กรและการบริหารบุคลากร, การจัดการด้านการผลิตหรือบริการ,การบริหารการเงิน การอ่านวิเคราะห์ตัวเลขทางการเงินและการจัดท า Business Model Canvas ตลอดจนให้ค าปรึกษาและค าแนะน ากับผู้เข้ารับการอบรมในโครงการฯ ซึ่งหลังจาก เสร็จสิ้นโครงการฯนี้แล้วนั้น จะมีการติดตามสอบถามในความก้าวหน้าของการประกอบอาชีพภายใน 1 เดือน ว่า มีการน าความรู้ที่ได้จากการอบรมไปด าเนินการต่อยอดเพื่อพัฒนาอาชีพเดิมหรือไม่ 11.ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการด าเนินโครงการ ผลกระทบด้านบวก - ผู้เข้าร่วมโครงการมีการพัฒนาความรู้ มีทักษะที่เพิ่มขึ้นและมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ใหม่ๆ ใน การประกอบอาชีพ หรือพัฒนาตนเองที่จะก้าวไปสู่การเป็นผู้ประกอบการที่ดีต่อไปในอนาคต - เป็นการสร้างเครือข่ายและสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้เข้ารับการอบรมด้วยกันให้มี มุมมองที่กว้างขึ้น และท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และแนวคิดต่างๆในการพัฒนาตนเองและธุรกิจ - เป็นการส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความสนใจในการประกอบอาชีพมากขึ้น และสามารถ น าความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพ ตลอดจนผู้ที่ประกอบการที่มีธุรกิจอยู่แล้วสามารถน าไปต่อยอดธุรกิจตนเองใน อนาคตได้ ผลกระทบด้านลบ -มีระยะเวลาอบรมที่สั้น จึงท าให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ในระดับหนึ่ง/พอประมาณ แต่ด้วย ความตั้งใจและศักยภาพของผู้เข้าอบรมเองท าให้สามารถน าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้หรือพัฒนาต่อยอดธุรกิจ ตนเองได
URI: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/4607
Appears in Collections:2.02 บริการวิชาการ

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gSoSocafn5LnTo496iFs.pdf82.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.