DSpace Repository

ูรูปแบบการพัฒนาทักษะการอ่านออก-เขียนได้ สำหรับนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์มลายูในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

Show simple item record

dc.contributor.author จิตติขวัญ ภู่พันธ์ตระกูล
dc.contributor.author สุรัสวดี นราพงศ์เกษม
dc.contributor.author มิรินด้า บูรรุ่งโรจน์
dc.contributor.author สรัญญา กฤษณานุวัตร
dc.date.accessioned 2023-08-09T09:20:08Z
dc.date.available 2023-08-09T09:20:08Z
dc.date.issued 2559-12-15
dc.identifier.uri http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/6872
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้ของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์มลายูในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยรวบรวมข้อมูลจากครูผู้สอนภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาและนักวิชาการในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 25 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนการสอนใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และมีการปรับใช้หลักสูตรในระดับเขตพื้นที่หรือกลุ่มโรงเรียน และระดับครูผู้สอน 2) วิธีการสอนที่ครูใช้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน-เขียนของนักเรียน แบ่งได้ 3 กลุ่มคือ 1) วิธีการสอนอ่านเขียนแบบบูรณาการ ได้แก่ การสอนภาษาไทยโดยใช้วิธีประสบการณ์ตรง, การสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา, วิธีการสอนการเขียนเรื่องภาษาไทย และการพัฒนาการเรียนการสอนอ่าน-เขียนภาษาไทย 350 ชั่วโมง อ่านออกเขียนได้ 2) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อ 3) วิธีการสอนอ่าน-เขียนภาษาไทยแบบแก้ไขปัญหาเฉพาะด้าน ได้แก่ การสอนภาษาไทยที่เน้นกระบวนการคิดและ การโต้ตอบสื่อสาร และการสอนภาษาไทยที่เน้นหลักเกณฑ์ทางภาษาหรือไวยากรณ์ en_US
dc.language.iso other en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต en_US
dc.relation.ispartofseries การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 8;646-653
dc.subject ทักษะการอ่านออก-เขียนได้ en_US
dc.subject กลุ่มชาติพันธุ์มลายู en_US
dc.subject สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ en_US
dc.title ูรูปแบบการพัฒนาทักษะการอ่านออก-เขียนได้ สำหรับนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์มลายูในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ en_US
dc.title.alternative A Literacy Development Model for Malay Students in the Three Southern Border Provinces of Thailand en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account