Please use this identifier to cite or link to this item: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/4532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศุภลักษณ์ สินธนา
dc.contributor.authorสุกินา อาแล
dc.contributor.authorพิมลพรรณ ลีลาภัทรพันธุ์
dc.contributor.authorอรวรรณ กมล
dc.date.accessioned2021-12-22T06:45:57Z-
dc.date.available2021-12-22T06:45:57Z-
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttp://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/4532-
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยพยากรณ์พฤติกรรมการบูรณาการการจัดการเรียนรู้กับการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้มาจากอาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น จําานวน 308 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ได้หาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัย สรุปได้ว่า ปัจจัยทั้ง 5 คือ 1) การมีส่วนร่วม (X5) 2) พันธกิจ(X6) 3) วิชาชีพเฉพาะ(X1)4) ความรู้ในบริบท 3 จังหวัด(X4) และ 5) เงินทุน(X7) สามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมการบูรณาการการเรียนรู้กับงานวิจัยได้ โดยมีประสิทธิภาพของการพยากรณ์ร้อยละ 56.4 อย่างมีนัยสําาคัญที่ระดับ .01 และมีสมการพยากรณ์ดังนี้ คือ 1) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ y=0.009 + 0.341 X5 + 0.155 X6 + 0.252 X1 + 0.147 X4 + 0.082 X7 และ 2) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Zy = 0.437 X5 + 0.163 X6 + 0.176 X1 + 0.154 X4 + 0.102 Xen_EN
dc.publisherวารสาร มหาวิทยาลัย ราชภัฏ ยะลาen_EN
dc.subjectปัจจัยen_EN
dc.subjectพฤติกรรมการบูรณาการen_EN
dc.subjectการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นen_EN
dc.titleปัจจัยพยากรณ์พฤติกรรมการบูรณาการการจัดการเรียนรู้กับการวิจัย เพื่อพัฒนาท้องถิ่นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้en_EN
dc.title.alternativeFactors Predicting the Integration Behaviors of LearningManagement with Research to Develop the Communities in theThree Southern Border Provincesen_EN
Appears in Collections:2.01 บทความวิจัย

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
113264-ไฟล์บทความ-290394-1-10-20180223.pdf209.71 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.