Please use this identifier to cite or link to this item: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/1186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม-
dc.date.accessioned2021-12-13T09:16:56Z-
dc.date.available2021-12-13T09:16:56Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://srdi.yru.ac.th/culture/page/711/_%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B9%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%A8%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1_%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88_%E0%B8%93_%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5_%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%AA.html-
dc.identifier.urihttp://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/1186-
dc.descriptionวันที่ 28 มกราคม 2564 ผู้บริหารและบุคลากรศูนย์ศิลปวัฒนธรรม ลงพื้นที่ ณ อำเภอสายบุรี เพื่อเก็บข้อมูลองค์ความรู้เรื่องว่าวเบอร์อามัส หรือว่าวทองแห่งสายบุรี โดยมีคุณแวฮามิ วานิ ปราชญ์ชาวบ้านที่มีความเชี่ยวชาญในการทำว่าวเบอร์อามัส และคุณไวโรจน์ วานิ ทายาทช่างศิลป์ว่าวเบอร์อามัส ว่าวเบอร์อามัสเป็นว่าวที่เจ้าเมืองใช้สำหรับทำการพยากรณ์อากาศบ้านเมือง ใน 7 หัวเมืองปัตตานี ในช่วงหลังฤดูเก็บเกี่ยว ซึ่งก่อนที่ประชาชนจะเล่นว่าว เจ้าเมืองจะขึ้นว่าวเบอร์อามัสก่อน และจะมีการปิดทองที่หัวว่าว และว่าวนี้ยังเป็นสัญลักษณ์ของฤดูกาลเก็บเกี่ยวจึงเป็นที่มาของชื่อ ว่าวเบอร์อามัส ว่าวของเจ้าเมืองหรือว่าวทองแห่งมลายู ในภาคกลางก็จะมีว่าวประเภทนี้ คือว่าวที่ใช้ในการพยากรณ์อากาศเช่นเดียวกัน ได้แก่ ว่าวดุ๊ยดุ่ย เป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรมของอุษาคเนย์ เป็นตัวแทนภูมิปัญญาในการพยากรณ์อากาศโดยการดูลม และทำนายอากาศในปีต่อไปว่าฟ้าฝนจะเป็นอย่างไร ควรจะเพาะปลูกในช่วงใดจึงจะเหมาะสมen_EN
dc.publisherมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาen_EN
dc.subjectภูมิปัญญาen_EN
dc.subjectจังหวัดปัตตานีen_EN
dc.subjectว่าวen_EN
dc.subjectปราชญ์ชาวบ้านen_EN
dc.subjectมลายูen_EN
dc.titleลงพื้นที่ ณ อำเภอสายบุรี เพื่อเก็บข้อมูลองค์ความรู้เรื่องว่าวเบอร์อามัสen_EN
dc.typeImageen_EN
Appears in Collections:8.4 รูปภาพ



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.