DSpace Repository

คุณค่าของข้อมูล “คติชนวิทยา” ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชุด วรรณคดีลำนำ

Show simple item record

dc.contributor.author พิเภก เมืองหลวง
dc.contributor.author กัณย์ญภัธสร บัวหอม
dc.date.accessioned 2022-11-08T09:36:19Z
dc.date.available 2022-11-08T09:36:19Z
dc.date.issued 2563-11-28
dc.identifier.uri http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/6509
dc.description.abstract บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาคุณค่าของข้อมูล “คติชนวิทยา” ในหนังสือเรียนภาษาไทยชุดวรรณคดีล ำน ำ ซึ่งเป็นสื่อหลักที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนทั่วประเทศ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ ผลการศึกษาพบว่า หนังสือเรียนภาษาไทย ชุด วรรณคดีล ำน ำมีการใช้ข้อมูลคติชนวิทยาหลายประเภท ได้แก่ 1) นิทาน ซึ่งมีที่มาจาก วรรณคดี, นิทานพื้นบ้าน, นิสาน อีสป, นิทานเทียบสุภาษิต 2) เพลงพื้นบ้านมีที่มาจากบทเห่, เพลงกล่อมเด็ก, เพลงปลอบเด็ก, เพลงร้องเล่น 3) ส านวนสุภาษิตจากวรรณคดี4) ต านาน ข้อมูลคติชนวิทยาที่ปรากฏในหนังสือเรียนอย่างหลากหลายนี้สะท้อนให้เห็นถึง “บทบาท” ของการน าข้อมูลคติชนวิทยาไปใช้ในใน“มิติการศึกษา” เป็นการให้ความรู้ อบรมระเบียบแบบแผนอันพึงประพฤติปฏิบัตินับเป็นบทบาทที่ส าคัญและเป็นสากล อีกแง่หนึ่งยังเป็นการน าเอาข้อมูลคติชนวิทยามาบูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ตรงกับความต้องการของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และหลักสูตรท้อถิ่น ทั้งในแง่ของคุณภาพของผู้เรียนและตัวชี้วัดชั้นปี อาจกล่าวได้ว่าเป็นการถ่ายทอดข้อมูลคติชนวิทยาถึงเยาวชนคนรุ่นใหม่ปลูกจิตส านึกของความรักชาติ รักท้องถิ่นและเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมอันดีงามของชาติได้อีกทางหนึ่งด้วย en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร en_US
dc.relation.ispartofseries งานประชุมวิชาการระดับชาติ นนทรีอีสาน ครั้งที่ 8; วันที่ 28 พฤศจิกายน 2563;1107-1115
dc.subject คติชนวิทยา en_US
dc.subject บทบาทของคติชน en_US
dc.subject หนังสือเรียนภาษาไทย en_US
dc.subject วรรณคดีลำนำ en_US
dc.title คุณค่าของข้อมูล “คติชนวิทยา” ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชุด วรรณคดีลำนำ en_US
dc.title.alternative Benefits of Folklore Mentioned in “WannakhadiLamnam”, a Set of Secondary School Book toward Thai Literature en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account