DSpace Repository

พัฒนาบทเรียนรายวิชาภาษามลายูเพื่อการสื่อสารระบบเปิด

Show simple item record

dc.contributor.author อาลียะห์ มะแซ
dc.contributor.author ซามียะห์ บาเละ
dc.contributor.author ไซนีย์ ตำภู
dc.contributor.author ซารียะห์ สตาร์
dc.contributor.author ฮัสบูลลอฮ์ นะดารานิง
dc.date.accessioned 2021-12-24T04:02:51Z
dc.date.available 2021-12-24T04:02:51Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/5371
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนวิชาภาษามลายูเพื่อ การสื่อสารออนไลน์ระบบเปิด Thai-MOOC 2) เพื่อวัดผลสัมฤทธ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง เรียนของนักศึกษาที่เรียนรู้ด้วยบทเรียนภาษามลายูออนไลน์ระบบเปิด Thai-MOOC 3) เพื่อสำรวจ ความต้องการและความสนใจการเรียนภาษามลายูออนไลน์ระบบเปิด Thai-MOOC กลุ่มตัวอย่างใช้ ในการวิจัย คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จำนวน 610 คน เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) บทเรียนวิชาภาษามลายูเพื่อการสื่อสารออนไลน์ระบบเปิด Thai-MOOC 2) แบบทดสอบประเมินผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน 3) แบบสอบถามความต้องการและความ สนใจเรียนวิชาภาษามลายูเพื่อการสื่อสารในระบบThai-MOOC จากการวิเคราะห์ผลปรากฏว่า 1) ได้รายวิชาภาษามลายูเพื่อการสื่อสารบนระบบออนไลน์ ระบบเปิด Thai-MOOC จำนวน 15 ชั่วโมง 10 บทเรียน มีวีดิทัศน์ 315 นาที และข้อสอบ 60 ข้อ จากผลการตรวจงานเพื่อหาประสิทธิภาพพบว่า โครงการพัฒนาภาษามลายู สื่อ ข้อสอบ และการ จัดการเรียนการสอน MOOC ได้รับมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2) จำนวนผู้เรียนที่เรียนจบผ่าน เกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 10 ของผู้เรียน จากจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 610 คน ต้องผ่านอย่างน้อย 61 คน พบว่า มีจำนวนผู้เรียนรายวิชาภาษามลายูเพื่อการสื่อสารบนระบบออนไลน์ระบบเปิด Thai-MOOC ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินในรายวิชา รวม 219 คน ขอสรุปได้ว่า จำนวนผู้เรียนที่เรียนจบผ่านเกณฑ์ที่ กำหนดในรายวิชา เกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนดใว้ 3) ผู้สนใจส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มาจากจังหวัดยะลา รองลงมาจังหวัดปัตตานี นราธิวาส สงขลา เชียงใหม่ และสตูล การศึกษาส่วนใหญ่อยู่ที่ระดับปริญญา ตรีหรือเทียบเท่า และอาชีพส่วนใหญ่เป็นนักเรียนและนักศึกษา ส่วนใหญ่ผู้เรียนเคยเรียนภาษามลายู แต่ไม่เคยเรียนภาษามลายูออนไลน์มาก่อน วัตถุประสงค์ในการเรียนและลงทะเบียนรายวิชานี้ ส่วน ใหญ่เรียนเพื่อประกอบเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนในชั้นเรียน รองลงมาคือหัวข้อรายวิชาน่าสนใจ และ ผู้เรียนส่วนใหญ่ที่ลงทะเบียนมีความตั้งใจที่จะเรียนให้ผ่านเกณฑ์ 60 % en_EN
dc.subject ภาษามลายู
dc.subject การสื่อสารระบบเปิด
dc.title พัฒนาบทเรียนรายวิชาภาษามลายูเพื่อการสื่อสารระบบเปิด en_EN
dc.title.alternative Thai-MOOC Development Malay for Communication, Thai-MOOC en_EN
dc.type Working Paper en_EN


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account