Please use this identifier to cite or link to this item: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/6739
Title: ผลการใช้นิทานอีสปร่วมกับการสอนแบบบทบาทสมมติที่มีต่อการเข้าใจความหมายของคำกริยาสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านเบอเส้ง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา
Other Titles: The Effects of Employing Aesop’s Fables with Role Playing on Understanding of Verb Meaning for Pratom 2 Students from Ban Ber Seng School, Mueang Yala District, Yala Province
Authors: ยามีละห์ นิเลาะ
สุรัสวดี นราพงศ์เกษม
Keywords: บทบาทสมมต
นิทานอีสป
ความหมายคำกริยา
Issue Date: 25-Jun-2564
Publisher: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
Series/Report no.: Proceeding การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 12;1262-1274
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการเข้าใจความหมายของคำกริยาของนักเรียนก่อนและหลังการใช้นิทานอีสปร่วมกับการสอนแบบบทบาทสมมติและศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้นิทานอีสปร ่วมกับการสอนแบบบทบาทสมมติโดยใช้แบบทดสอบก ่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านเบอเส้ง จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การเข้าใจความหมายของคำกริยา โดยการใช้นิทานอีสปร่วมกับการสอนแบบบทบาทสมมติ จำนวน 10 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 ชนิด ได้แก่ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ แบบทดสอบชนิดเติมคำ แบบทดสอบชนิดจับคู่ และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว ่าก ่อนเรียน อย ่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้นิทานอีสปร่วมกับการสอบแบบบทบาทสมมติ มีค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจโดยภาพรวมในระดับมาก (X̅= 2.84, S.D. = 0.05)
URI: http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/6739
Appears in Collections:4.02 บทความวิจัย

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2564-12th HU Conference proceedings (1262-1274).pdf253.14 kBAdobe PDFView/Open
2564-12th HU Conference proceedings (cover).pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.